ถึงแม้ว่าการออกกำลังกายเป็นวิธีการบำบัดที่ค่อนข้างปลอดภัย แต่ก็มีข้อห้ามด้วยเช่นกัน โดยห้ามออกกำลังกายหากมีภาวะหลอดเลือดอุดตันเฉียบพลัน, มีอุณหภูมิร่างกายสูง, กระดูกเปราะบางและมีความดันโลหิตสูง
วิธีการออกกำลังกายที่ช่วยลดความดันโลหิต
ตัวเลือกที่ 1
นั่งลงและเหยียดหลังให้ตรง ก้มศีรษะลง จากนั้นค่อยๆหันศีรษะไปทางซ้าย โดยทำค้างไว้ 10 วินาที
ตัวเลือกที่ 2:
นั่งอยู่ในตำแหน่งเดิม เอียงศีรษะไปด้านหน้า ค้างไว้ 10 วินาที จากนั้นเงยศีรษะไปด้านหลัง แต่ไม่ก้มศีรษะไปจนสุด
ตัวเลือกที่ 3:
ผ่อนคลายไหล่ ประสานมือทั้งสองข้างแล้วยกขึ้นเหนือศีรษะ หันศีรษะไปทางขวาแล้วเกร็งแขน ทำค้างไว้ 10 วินาที
ตัวเลือกที่ 4:
นั่ง และเอามือของข้างวางไว้บริเวณหัวเข่า เงยศีรษะขึ้น ทำค้างไว้ 10 วินาที นำมือไว้ด้านหลัง และนำกลับมาวางไว้บริเวณหัวเข่า
เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการออกกำลังกาย มีกฎง่ายๆที่ต้องปฏิบัติตาม ดังต่อไปนี้:
- ระบายอากาศภายในห้องให้ถ่ายเท ควรออกกำลังกายก่อนการรับประทานอาหาร เพื่อให้ทานอาหารได้น้อยลง ร่างกายอิ่มเร็วขึ้น
- หายใจเข้าทางจมูกเท่านั้น กรณีออกกำลังกายหนัก ควรนั่งหรือนอน หากการออกกำลังกายไม่หนัก สามารถยืนได้ หากร่างกายอยู่ในภาวะที่แย่มากเท่าใด ควรออกกำลังกายมากขึ้นเท่านั้น แต่สามารถพักบ่อยกว่าเดิมได้
- ขนาดของผ้าพันแขนของเครื่องวัดความดันโลหิตควรเท่ากับเส้นรอบวงต้นแขนด้านบน ตรงกลางของบอลลูนต้องอยู่เหนือหลอดเลือดแดงบริเวณแขน แขนที่ใช้วัดความดันโลหิตไม่ควรสวมใส่เสื้อผ้า
- ก่อนออกกำลังกายในทุกๆครั้ง ควรวอร์มอัพร่างกายเบาๆสัก 2 นาที เพื่อเป็นการวอร์มอัพร่างกาย
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนออกกำลังกายทุกครั้ง!